top of page

 

 

ดินเปรี้ยวเป็นดินที่มีค่า pH ต่ำมาก ทำให้ธาตุอาหารพืชไม่สามารถละลายออกมาใช้ประโยชน์ได้ ประโยชน์ได้ ประเทศไทยมีดินเปรี้ยวประมาณ 9.4 ล้านไร่ อยู่ในภาคกลางประมาณ 5.6 ล้านไร่ และเป็นบริเวณพื้นที่ฝั่งทะเลตะวันออกเฉียงใต้และฝั่งทะเลตะวันออกของภาคใต้อีกประมาณ 3.8 ล้านไร่    
 

ดินเสื่อมโทรม เป็นดินที่ต้องมีการจัดการปรับปรุงเป็นพิเศษจึงจะใช้เพาะปลูกได้ ดินทรายมีพื้นที่ประมาณ 6 แสนไร่ พบมากในภาคใต้และภาคตะวันตก ดินลูกรังและดินตื้น เป็นดินที่ไม่อุ้มน้ำและขาดอุดมสมบูรณ์ และดินเมืองร้างเป็นดินที่ในบริเวณที่ทำเหมือนมาก่อน

ดินเค็มเป็นดินที่มีปริมาณเกลือที่ละลายน้ำได้มากเกินไป บริเวณพื้นที่ดินเค็มส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 4.3 ล้านไร่ บริเวณชายฝั่งทะเลภาคใต้และภาคตะวันออก มีพื้นที่ประมาณ 3.7 ล้านไร่ 
 

2.2 น้ำเสียและสารพิษในน้ำ

 การทิ้งน้ำเสียจากบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมลงสู่แหล่งน้ำ

ทำให้น้ำเน่าเสีย สัตว์น้ำไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ รวมถึงไม่สามารถนำมาใช้อุปโภคบริโภคหรือใช้ในการเกษตรได้     

2.4 น้ำทะเลหนุน 

ช่วงฤดูร้อนของทุกปีเป็นเวลาที่ปริมาณน้ำจาก

แม่น้ำไหลลงสู่อ่าวไทยน้อยลง ทำให้ทะเลหนุนเข้ามาในลำน้ำสายหลัก

2.6 ความตื้นเขินของแหล่งน้ำ

เกิดจากตะกอน ดินทราย ที่ถูกพัดมากับกระแสน้ำ เป็นสาเหตุทำให้แหล่งน้ำตื้นเขิน น้ำไหลผ่านไปได้ช้า ทำให้ในช่วงฤดูฝนจะมีปริมาณน้ำมากจะทำให้เกิดน้ำท่วม

          ปัจจุบันประเทศไทยต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและนับวันวิกฤตการณ์ต่างๆ ก็ยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลกระทบทั้งโดยอ้อมต่อประชากร รวมถึงการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

      1.วิกฤตการณ์เกี่ยวกับที่ดินและทรัพยากรดิน                   

           จากความจำกัดของที่ดิน การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดิน การใช้ที่ดินไม่เหมาะสมกับสมรรถนะของที่ดิน และการจัดระเบียบการใช้ที่ดินที่ไม่ถูกต้องของผู้ครองที่ดินสาเหตุต่างๆ เหล่านี้ล้วนเป็นวิกฤตการณ์เกี่ยวกับที่ดิน

 

 

1.1 ความจำกัดของจำนวนที่ดิน

         ประเทศไทยมีพื้นที่อยู่ประมาณ 320 ล้านไร่ โดยเป็นทั้งพื้นที่ที่

ใช้เป็นที่อาศัย ทำการเกษตรและอุตสาหกรรม  ในขณะที่จำนวน

ประชากรของประเทศเพิ่มขึ้นการพัฒนาประเทศทำให้ชุมชน

เมืองขยายตัวเข้าไปในพื้นที่เกษตรกรรม และการพัฒนาเศรษฐกิจ

ความต้องการที่ดินทั้งใช้เป็นที่อยู่อาศัย ชุมชน และใช้เพื่อ

การเพาะปลูกจึงสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในขณะที่ที่ดินหรือ

พื้นที่ของประเทศไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้                

       

 

 

 

 

 

 

            

1.2 การเปลี่ยนสภาพการใช้ที่ดิน 

       ปริมาณพื้นที่ทางการเกษตรของประเทศที่เพิ่มมากขึ้น

การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดินดังกล่าวทำให้พื้นที่ป่าไม้

และพื้นที่ว่างเปล่าลดลง ซึ่งจะมีผลกระทบต่อระบบนิเวศ

และวิกฤตการณ์โลกร้อนที่อยู่ในปัจจุบัน                                                                     

          

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1.3 การพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชนและสาธารณูปโภค 

        การพัฒนาอุตสาหกรรมนับตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงที่ตั้งของ

โรงงานจากในเมืองไปอยู่นอกเมือง ล้วนเป็นการเข้าไปบุกรุกพื้นที่

เกษตรกรรมที่มีอยู่ก่อน เมื่อมีการขยายตัวของการใช้พื้นที่

อุตสาหกรรมออกไป ชุมชนก็ขยายตามไปด้วย การพัฒนา

ดังกล่าวล้วนทำให้ที่ดินที่มีอยู่อย่างจำกัดยิ่งขาดแคลนยิ่งขึ้น

หรือไม่ก็เกิดการบุกรุกไปใช้พื้นที่ป่าไม้และพื้นที่ว่างเปล่าต่อไปอีก                                                                                           

          

 

 

 

 

 

 

 

1.4 การขาดกรรมสิทธิ์ถือครองที่ดิน 

           ผู้ที่ถือครองที่ดินที่เป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ที่ดินตามกฎหมายนั้น

มีเป็นส่วนน้อย ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมมักเป็นผู้เช่าที่ดินทำกิน

หรือไม่ก็เข้าไปใช้ประโยชน์จากที่ดินโดยรัฐยังไม่สามารถมอบ

กรรมสิทธิ์ที่ดินให้ได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย ทำให้ไม่สามารถ

พัฒนาที่ดินที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้เต็มศักยภาพ หรือไม่ก็ขาด

ความรู้ความเข้าใจในการครอบครองที่ดิน

จนเกิดการฟ้องร้องให้ออกจากพื้นที่

          

1.5 ปัญหาการถือครองที่ดิน

การบุกรุกที่ดินของรัฐทั้งที่เป็นพื้นที่ป่าไม้และที่สาธารณะประโยชน์

ประชาชนเข้าไปอยู่อาศัและ ประกอบอาชีพโดยขาดสิทธิใน

การครอบครองที่ดินตามกฎหมาย หรือการที่ประชาชนเข้า

ไปครอบครองอย่างถูกต้องแต่รัฐประกาศให้เป็นที่ดินของรัฐ

ในภายหลัง เมื่อระยะเวลาผ่านมานาน ทำให้ไม่สามารถระบุสิทธิ์

ของผู้ถือครองได้อย่างถูกต้องก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างประชาชนกับประชาชนด้วยกันเอง                    

 

 

 

1.6 การเกิดภัยธรรมชาติ  

ภัยธรรมชาติที่มักเกิดขึ้นในประเทศไทยและก่อให้เกิด

ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ที่สำคัญ

ได้แก่ น้ำท่วมรวมทั้งการพัดเอาดินโคลนไหลไปทำความเสียหาย

แก่ชีวิตบ้านเรือน สาธารณูปโภค และผลผลิตทางการเกษตร  

         

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1.7 แผ่นดินทรุดตัว 

บริเวณพื้นที่ที่มีการใช้นำบาดาลมาก เช่น พื้นที่กรุงเทพมหานคร

สมุทรปราการ นนทบุรี และปทุมธานี ได้มีการนำน้ำบาดาลขึ้นมา

ใช้อย่างต่อเนื่องมากว่า 30 ปีโดย เฉพาะพื้นที่บริเวณย่านรามคำแหง

บางนา และในจังหวัดสมุทรปราการ แผ่นดินได้ทรุดตัวลงแล้วกว่า

1 เมตร และยังทรุดตัวลงอย่างต่อเนื่อง จนทำให้ภาครัฐต้องกำหนด

มาตรการห้ามขุดเจาะน้ำบาดาลขึ้นมาใช้ และให้ใช้น้ำผิวดิน

(น้ำในแม่น้ำ) มาทำประปาให้บริการเพิ่มมากขึ้น

       

 

 

 

 

 

1.8 ดินขาดความอุดมสมบูรณ์

                               

         

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

          

 

 

 

 

 

           

               2. วิกฤตการณ์ทรัพยากรน้ำ

         วิกฤตการณ์ทรัพยากรน้ำ เกิดจากสาเหตุหลักๆ ดังนี้                                    

 

2.1 การขาดแคลนน้ำ 

การเพิ่มจำนวนประชากร การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร

และอุตสาหกรรมรวมถึงการเพิ่มปริมาณการใช้น้ำของ

ครอบครัวและชุมชน ทำให้เกิดการขาดแคลนน้ำ                                 

         

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

       

 

 

 

 

 

2.3 น้ำท่วม

เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทย

เป็นประจำทุกปี โดนเฉพาะ.ในช่วงฤดูฝนที่ได้รับอิทธิพลจาก

พายุต่างๆในทะเลจีนใต้ ทำให้พื้นที่ทางการเกษตรบ้าเรือน

และทรัพย์สินเสียหายในบริเวณและพื้นที่ที่เกิดน้ำท่วมเป็นประจำ      

          

 

 

 

 

                   

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2.5 น้ำบาดาลลงระดับ 

น้ำบาดาลหรือน้ำใต้ดินได้ลดระดับต่างลงในทุกปีของพื้นที่

จนกลายเป็นที่วิตกกว่าน้ำเค็มจากทะเลไหลเข้ามาแทนที่ทำ

ไม่สามารถนำน้ำบาดาลขึ้นมา                                                                            

 

 

        

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

         

             3. วิกฤตการณ์เกี่ยวกับแร่และพลังงาน

        แร่และพลังงานมีความจำเป็นต่อการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ในปัจจุบันมีการใช้แร่และพลังงานมากขึ้น ซึ่งวิกฤตแระและพลังงาน มีดังนี้

3.1 การขาดแคลนพลังงาน 

แร่และพลังงานเป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไปในอนาคตอันใกล้

เช่น ถ่านหิน ถ้ามีอัตราการใช้เช่นปัจจุบัน ถ่านหินก็จะหมดไปภายใน

ระยะเวลาไม่นานเมื่อเกิดการขาดแคลนพลังงาน ทำให้ต้องนำเข้า

พลังงานจากต่างประเทศ และนอกจากนี้ราคาของแร่และพลังงาน

จะมีความผันผวนไปตามกระแสเศรษฐกิจและการเมือง ในส่วนของ

ประชาชนก็จะได้รับผลกระทบจากราคาสินค้าที่แพงขึ้นตามวัตถุดิบ

และต้นทุนการผลิต                                                                         

 

3.2 ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม  

การนำแร่และพลังงานมาใช้จะมีผลกระทบต่อ

สิ่งแวดล้อมหากไม่มีระบบป้องกันที่ดี

        

 

 

 

       4.วิกฤตการณ์เกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้

 

4.1 การสูญเสียพื้นที่ป่าไม้  

การสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ

สังคมและเทคโนโลยี ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อการทำลายป่าไม้

สรุปได้ดัง นี้คือ การให้สัมปทานป่าไม้โดยขาดการควบคุม  การเพิ่มประชากร

การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน  การประกาศเขตอนุรักษ์ป่าไม้ 

การแพร่หลายของเทคโนโลยี   การเกษตรเชิงพาณิชย์ ในอดีต

คนไทยปลูกข้าวและพืชผัก เพื่อบริโภค  การเก็งกำไรที่ดิน

ญเสียพื้นที่ป่าไม้ 

 

 

4.2 การสูญเสียป่าชายเลน 

การตัดถนนผ่านพื้นที่ป่าชายเลนการตัดถนนผ่านพื้นที่ป่าชายเลน

เป็นจำนวนมาก เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้พื้นที่ป่าชายเลนถูกบุกรุกทำลาย

การก่อสร้างบ้านเรือนขึ้นใหม่ การสร้างอาคารบ้านเรือน ร้านค้า ศูนย์การค้า

ที่ทำการและสำนักงานในบริเวณนั้นติดตามมาราษฎรที่อยู่ใกล้กับ

ป่าชายเลนก็จะบุกรุกถือโอกาสเข้าครอบครองที่ดิน การตั้งโรงงาน

อุตสาหกรรม พื้นที่ป่าชายเลนที่อยู่แถบชายฝั่งทะเลส่วนหนึ่งถูก

บุกเบิกเพื่อตั้งนิคมอุตสาหกรรมทั่วไป แต่มีส่วนหนึ่งที่ถูกบุกเบิก

เพื่อก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมสำหรับผลิตอาหารสำเร็จรูปจาก

สัตว์น้ำโดยเฉพาะ เช่นปลาป่น ปลาเค็ม ปลานึ่ง ปลากระป๋อง

ปลารมควัน กุ้งประป๋อง กุ้งแห้ง ปลาหมึกแห้ง น้ำปลา และน้ำบูดู

วิกฤตการณ์ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมของประเทศไทย

วีดีโอที่เกี่ยวข้อง

  Tua-U 

bottom of page